: หนองปลาปาก : ตำบลกวนวัน : ตำบลในเมือง : ตำบลค่ายบกหวาน : ตำบลบ้านเดื่อ : ตำบลพระธาตุบังพวน : ตำบลปะโค : ตำบลโพนสว่าง : ตำบลโพธิ์ชัย : ตำบลเมืองหมี : ตำบลมีชัย : ตำบลเวียงคุก : ตำบลวัดธาตุ : ตำบลสีกาย : ตำบลหาดคำ : ตำบลหนองกอมเกาะ : ตำบลหินโงม : ตำบลกุดบง : ตำบลชุมช้าง : ตำบลจุมพล : ตำบลทุ่งหลวง : ตำบลเซิม : ตำบลนาหนัง : ตำบลบ้านโพธิ์ : ตำบลบ้านผือ : ตำบลวัดหลวง : ตำบลสร้างนางขาว : ตำบลเหล่าต่างคำ : ตำบลกองนาง : ตำบลท่าบ่อ : ตำบลโคกคอน : ตำบลน้ำโมง : ตำบลนาข่า : ตำบลบ้านเดื่อ : ตำบลบ้านถ่อน : ตำบลโพนสา : ตำบลบ้านว่าน : ตำบลหนองนาง : ตำบลนาดี : ตำบลเฝ้าไร่ : ตำบลหนองหลวง : ตำบลวังหลวง : ตำบลอุดมพร : ตำบลบ้านต้อน : ตำบลนาทับไฮ : ตำบลพระบาทนาสิงห์ : ตำบลโพนแพง : ตำบลบ้านหม้อ : ตำบลรัตนวาปี : ตำบลพระพุทธบาท : ตำบลพานพร้าว : ตำบลแก้งไก่ : ตำบลบ้านม่วง : ตำบลนางิ้ว : ตำบลผาตั้ง : ตำบลสังคม : ตำบลโพนทอง : ตำบลด่านศรีสุข : ตำบลโพธิ์ตาก : ตำบลสระใคร : ตำบลบ้านฝาง : ตำบลคอกช้าง

วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2553

หลักการใช้ตัวเลขในภาษาอังกฤษ (Numbering)

หลักการใช้ตัวเลขในภาษาอังกฤษ (Numbering)
1) การเขียนและอ่านออกเสียงตัวเลข
1.1)ตัวเลขที่มีจำนวนมากกว่า 20 ขึ้นไปจะต้องเขียนโดยมีเครื่องหมายยัติภังค์ (-)
คั่นระหว่างเลข เช่น - 26 อ่านว่า twenty-six
- 25 อ่านว่า fifty-four

1.2) ตัวเลขที่มีจำนวนมากกว่าหลัก 100 ขึ้นไปจะใช้ and เข้ามาช่วย
เช่น - 365 อ่านว่า three hundred and sixty five
- 172 อ่านว่า one hundred and seventy two
หมายเหตุ : and จะอ่านออกเสียงเหมือนตัว n และการลงน้ำหนักเสียงจะอยู่ที่พยางค์
สุดท้าย (บางครั้งใน American English ก็จะไม่ใช้ and ในการเขียน)

1.3) ตัวเลขที่มีจำนวนมากกว่าหลัก 1000 ขึ้นไป จะใช้ and เข้ามาประกอบในตัวเลขที่
มีเศษเลขในหลักร้อยหรือพัน
เช่น - 1,600 อ่านว่า one thousand six hundred or sixteen hundred
(หมายเหตุ: sixteen hundred เป็นรูปแบบที่ใช้แค่จำนวนที่อยู่ระหว่าง 1100 ถึ1900)
- 5,420 อ่านว่า five thousand four hundred and twenty
- 24,000 อ่านว่า twenty four thousand
- 37,220 อ่านว่า thirty seven thousand two hundred and twenty
- 6,245,670 อ่านว่า six million two hundred and forty five thousand -
six hundred and seventy
2) หลักการใช้ A หรือ one
2.1) one ใช้ในลักษณะที่เป็นทางการ หรือ เพื่อเน้นความสำคัญ
เช่น - The exact price is one hundred and fifty.
- The price is around a hundred and fifty.

2.2) a ใช้นำหน้าการขึ้นต้นตัวเลขเท่านั้น
เช่น - 1000 อ่านว่า a/one hundred
- 140 อ่านว่า a/one hundred and forty
- 5,000,000 อ่านว่า a/five million
- 2,100 อ่านว่า two thousand one hundred
(หมายเหตุ: a จะไม่ใช้ในตัวเลขที่อยู่ระหว่าง 1100-1900)

3) ตัวเลขลำดับที่
เช่น - 1st อ่านว่า first
- 2nd อ่านว่า second
- 3rd อ่านว่า third
- 4st อ่านว่า fourth
- 5st อ่านว่า fifth
- 9st อ่านว่า ninth
- 12th อ่านว่า twelfth
- 21st อ่านว่า twenty-first

4) ตัวเลขที่เป็นเศษส่วน
4.1)a หรือ one สามารถใช้ควบคู่กันได้ แต่หากต้องการจะเน้นความสำคัญ
ให้ใช้ one แทน
เช่น - 1/2 อ่านว่า a/one half
- 1/3 อ่านว่า a/one third
- 1/4 อ่านว่า a/one quarter (ในอเมริกาสามารถใช้ a/one fourth)
- 2/4 อ่านว่า two quarters
- 2/3 อ่านว่า two thirds
- 8/10 อ่านว่า eight tenths

4.2) สำหรับเศษส่วนที่มีความซับซ้อนมากขึ้นใช้ over เข้าช่วย
เช่น -15/45 อ่านว่า fifteen over forty five
- 26/125 อ่านว่า twenty - six over one two five

4.3) หากเป็นเลขจำนวนเต็มที่มีเศษสวนอยู่ด้วยให้ใช้ and เชื่อม
เช่น - 1 ฝ อ่านว่า one and a half
- 4 ผ อ่านว่า four and a quarter

5) การใช้เครื่องหมายมหัพภาค (.) กับตัวเลข
จะใช้เครื่องหมายมหัพภาคในการเขียนและอ่าน (ไม่ใช้เครื่องหมายจุลภาค)
เช่น - 63.2 อ่านว่า sixty three point two
- 0.476 อ่านว่า zero point four seven six

6) การใช้ตัวเลขศูนย์ (0)
6.1) zero ใช้เป็นคำประกอบทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ เศรษฐศาสตร์และการบอกอุณหภูมิ
เช่น - zero profit, zero inflation, zero margin

6.2) '0' ออกเสียงเหมือนตัว 0 (โอ) ใช้ในการออกเสียงเบอร์โทรศัพท์และตัวเลขในบัญชีธนาคาร
เช่น - 2020403 อ่านว่า two o two o four o three

7) ตัวเลขกับเขียนและบอกวันที่
7.1) แบบอังกฤษอเมริกัน
เช่น - August 6, 1974 (8/6/74)
- His birthday is August 6th.

7.2) แบบอังกฤษอังกฤษ
เช่น - 14 February 2001 หรือ 14th February 2001 (14/02/01)
- The king birthday is on the fifth of December.
(หรือ)
- The king birthday is on December the fifth.

7.3)ปี ค.ศ.
เช่น - 1978 อ่านว่า nineteen seventy-eight or nineteen hundred-
and seventy-eight
-1902 อ่านว่า nineteen o two or nineteen hundred and two
- 1900 อ่านว่า nineteen hundred
- 2000 อ่านว่า (the year) two thousand
- 2002 อ่านว่า two thousand and two

8) ตัวเลขกับอายุ
8.1) ในการบอกอายุไม่ต้องมีปีลงท้าย
เช่น - Ann is fifteen and Paul is nine.
- She went to America at nine.
จะใช้ years old ก็ต่อเมื่อผู้พูดต้องการจะเน้นหรือ บอกรายละเอียด
เช่น - He is only twenty years old but behaves like an old man.
- Sue is thin, white, 5ft 3ins and about 25 years old.
นอกจากนี้ยังใช้ได้กับการบอกอายุสถานที่หรือสิ่งของ
เช่น - The temple is around 100 years old.

9) ตัวเลขกับเวลา
9.1) ในภาษาอังกฤษมีการบอกเวลาได้หลายวิธี
เช่น - 7.30 อ่านว่า seven thirty half past seven
- 2.45 อ่านว่า two forty-five
หรือ (a)quarter to three (BrE)
- 3.15 อ่านว่า (a)quarter past three (BrE)
หรือ (a)quarter after three (AmE)
- 4.05 อ่านว่า four five
หรือ five past four (BrE)
หรือ five after four (AmE)
- 5.10 อ่านว่า five ten
หรือ ten past five (BrE)
ten after five (AmE)

9.2)จำนวนนาทีที่ลงท้ายด้วย 5, 10, 20, 25 ไม่ต้องลงท้ายด้วย minutes
เช่น - 3.10 อ่านว่า ten past three
- 3.28 อ่านว่า twenty-eight minutes past three

9.3) o'clock ใช้ในการบอกเวลาที่ไม่มีเศษนาที
เช่น - It was five o'clock in the morning.

9.4) a.m., p.m. ใช้ในการบอกเวลาอย่างเป็นทางการ (o'clock จะไม่ใช้ตามหลัง a.m., p.a.)
a.m.- ตอนเช้าหรือหลังเที่ยงคืน
p.m.- ตอนบ่าย, ตอนเย็น หรือก่อนเที่ยงคืน
เช่น: - I get up at 6.00 a.m. to pick up my friend at the airport.